พลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นต้น (พันบาร์เรลเทียบเท่าน้ำมันดิบ/วัน)

ม.ค-พ.ค

ความต้องการใช้พลังงานเดือน ม.ค.- พ.ค. ปี 2567 เพิ่มขึ้น 1.6% ขณะที่การนำเข้า(สุทธิ) ลดลง 6.3% และการผลิต เพิ่มขึ้น 10.4%

การใช้น้ำมันสำเร็จรูป (ล้านลิตร/วัน)

รวมทั้งสิ้น 143 ล้านลิตร/วัน
ปี 2567
ม.ค-พ.ค

การใช้น้ำมัน เดือน ม.ค. - พ.ค. ปี 2567 ลดลง 0.5% โดยลดลงจากการใช้น้ำมันดีเซล และน้ำมันเตา หมายเหตุ : ในที่นี้การใช้ LPG ไม่รวมที่ใช้เป็น feedstock ในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี

การจัดหาก๊าซธรรมชาติ (ล้านลูกบาศก์ฟุต/วัน)

รวม 4,949 ล้านลูกบาศก์ฟุต/วัน
ปี 2567
ม.ค-พ.ค

การจัดหาก๊าซธรรมชาติ เดือน ม.ค. - พ.ค. ปี 2567 เพิ่มขึ้น 8.4% จากการผลิตและการนำเข้าที่เพิ่มขึ้น

การผลิตไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงชนิดต่างๆ (กิกะวัตต์ชั่วโมง)

รวม 102,053 กิกะวัตต์ชั่วโมง
ปี 2567
ม.ค-พ.ค

กำลังผลิตในระบบ กฟผ. ณ เดือน พ.ค.2567 อยู่ที่ 50,715 MW ทั้งนี้การผลิตไฟฟ้า เดือน ม.ค.-พ.ค. ปี 2567 เพิ่มขึ้น 10.4% โดยใช้ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน/ลิกไนต์ และไฟฟ้านำเข้าเพิ่มขึ้นในการผลิตไฟฟ้า

 การปล่อยก๊าซ CO2 จากการใช้พลังงาน (ล้านตัน CO2)

รวม 103 ล้านตัน CO2
ปี 2567
ม.ค-พ.ค

การปล่อย CO2 จากการใช้พลังงาน เดือนม.ค. - พ.ค. ปี 2567 ลดลง 1.07% โดยลดลงในสาขาขนส่ง อุตสาหกรรม และอื่นๆ

เบนซิน
ประเทศ ราคา(บาท/ลิตร)
สิงคโปร์ 79.25
ลาว 54.41
เมียนมา 48.53
กัมพูชา 43.63
ไทย* 38.85
ฟิลิปปินส์ 36.41
เวียดนาม 33.16
อินโดนีเซีย 33.10
มาเลเซีย 15.88
บรูไน 14.28
ดีเซล
ประเทศ ราคา(บาท/ลิตร)
สิงคโปร์ 72.24
เมียนมา 41.78
กัมพูชา 37.02
ลาว 35.47
อินโดนีเซีย 34.50
ฟิลิปปินส์ 34.47
ไทย 32.94
เวียดนาม 29.34
มาเลเซีย 25.95
บรูไน 8.35
- แต่ละประเทศสมาชิกมีมาตรการภาษี และระบบการเก็บเงินเข้ากองทุนหรืออุดหนุนราคาพลังงานที่แตกต่างกัน
- หลายประเทศเพื่อนบ้านยังมีการอุดหนุนราคาอยู่
- ไทยสนับสนุนการใช้น้ำมันแก๊สโซฮอล์ ให้การอุดหนุนราคาโดยกองทุนน้ำมันฯ จึงทำให้ราคาน้ำมันแก๊สโซฮอลถูกกว่าเบนซิน
หมายเหตุ : ราคา ณ วันที่ 22 กรกฎาคม 2567 อัตราแลกเปลี่ยน (อัตรากลาง) ณ วันที่ 19 กรกฎาคม 2567 *ประเทศไทย เป็นราคาน้ำมันแก๊สโซฮอล์ 95E10 ซึ่งมีสัดส่วนการใช้มากที่สุด