• Thailand (TH) language switcher
  • English (UK) language switcher

White Style normal-style white-yellow

decrease-font normal-font increase-font

Calendar  Youtube Youtube Facebook    
  • หน้าหลัก
  • เกี่ยวกับองค์กร
    • เกี่ยวกับองค์กร
    • ประวัติความเป็นมา
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม และหน้าที่
    • โครงสร้างองค์กร
    • ติดต่อเรา
    • ทำเนียบผู้บริหาร
    • ผังเว็บไซต์
    • ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง
      • เกี่ยวกับซีไอโอ
      • วิสัยทัศน์และนโยบายต่างๆ
      • การบริหารงานด้าน ICT
      • ข่าวสารจากซีไอโอ
      • ปฏิทินกิจกรรมซีไอโอ
  • นโยบายและแผน
    • คำแถลงนโยบายด้านพลังงานของรัฐบาล
    • นโยบายด้านพลังงานของกระทรวงพลังงาน
    • ยุทธศาสตร์กระทรวงพลังงาน
    • แผนแม่บทพลังงาน
    • แผนบูรณาการพลังงานระยะยาว (TIEB)
      • แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย (PDP)
      • แผนอนุรักษ์พลังงาน (EEP)
      • แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก (AEDP)
      • แผนบริหารจัดการน้ำมันเชื้อเพลิง (Oil Plan)
      • แผนจัดหาก๊าซธรรมชาติ (Gas Plan)
    • ยุทธศาสตร์สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน
    • แผนปฏิบัติราชการรายปี และแผนปฎิบติราชการระยะ 5 ปี
    • การติดตามและประเมินผล
      • รายงานผลการประเมินดัชนีชี้วัดด้านพลังงานของประเทศไทย
      • รายงานความก้าวหน้าตามแผนปฏิบัติราชการ
      • รายงานแผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี
      • การดำเนินงานด้านพลังงานของ สนพ.
      • โครงการภายใต้กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
      • การดำเนินงานตามมติ กพช.
    • ความร่วมมือด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
      • สหประชาชาติ
        • กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติ (UNFCCC)
        • การประชุมสมัชชาประเทศภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติ (COP)
        • พิธีสารเกียวโต (Kyoto Protocol)
          • พิธีสารเกียวโต (Kyoto Protocol)
          • Joint Implementation (JI)
          • Emission Trading (ET)
          • Clean Development Mechanism (CDM)
          • Paris Agreement Adopted
        • Bali Action Plan
          • Bali Action Plan
          • AWG-LCA
          • NAMAS
          • Sectoral Approach : SA
          • MRV
          • AWG-KP
        • Concun Agreement
      • ประเทศไทย
        • ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี พ.ศ.2550
        • คณะกรรมการนโยบายการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
        • องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก
        • แผนแม่บทรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแห่งชาติ
        • แผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2560-2564
        • ยุทธศาสตร์แห่งชาติว่าด้วยการจัดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 2551-2555
      • กระทรวงพลังงาน
        • คณะทำงานประสานงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศฯ
        • แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย (PDP)
        • แผนอนุรักษ์พลังงาน (EEP)
        • แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก (AEDP)
      • อภิธานศัพท์
  • กฏหมายที่เกี่ยวข้อง
    • พระราชบัญญัติ / พระราชกำหนด
    • คำสั่งนายกรัฐมนตรี
    • กฏกระทรวง
    • มติ ครม.ด้านพลังงาน
    • คำพิพากษาคดีที่เกี่ยวข้อง กับ สนพ.
    • ประกาศ/คำสั่งสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน
    • การจัดทำสรุปสาระสำคัญและคำแปลกฎหมาย
    • การประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย
  • คณะกรรมการ/อนุกรรมการ
    • คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.)
      • มติ
      • คำสั่ง
      • ประกาศ
    • คณะกรรมการบริหารนโยบายพลังงาน (กบง.)
      • มติ
      • คำสั่ง
      • ประกาศ
    • คณะกรรมการพิจารณานโยบายพลังงาน (กพง.)
    • คณะกรรมการบริหารมาตรการส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน
    • คณะกรรมการกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (กทอ.)
      • คณะอนุกรรมการกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
      • คณะอนุกรรมการกลั่นกรองงบประมาณกองทุนฯ
      • คณะอนุกรรมการประเมินผลโครงการภายใต้แผนอนุรักษ์พลังงาน
      • มติคณะกรรมการกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
      • มติคณะอนุกรรมการกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
    • คณะกรรมการกองทุนเงินอุดหนุนจากสัญญาโรงกลั่นปิโตรเลียม
    • คณะกรรมการบริหารกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง (กบน.)
  • บริการข้อมูลข่าวสาร
    • สถานการณ์พลังงาน
    • วารสารนโยบายพลังงาน
    • รายงานประจำปี
    • รายงานสถิติพลังงานประจำปี
    • รายงานผลการศีกษานโยบายพลังงาน
    • จดหมายข่าวอนุรักษ์พลังงาน
    • เอกสารเผยแพร่ / หนังสือ / สาระน่ารู้
      • เอกสารเผยแพร่
      • หนังสือ
      • สาระน่ารู้
    • ข่าว สนพ.
    • ข่าวพลังงาน
    • ประชาสัมพันธ์
    • ประกาศจัดซื้อจัดจ้าง
    • ประกาศรับสมัครงาน
    • ห้องสมุด สนพ.
    • INFOGRAPHIC
    • FAQ
    • บริการประชาชน
    • ธรรมบาลข้อมูล
  • การกำกับดูแลองค์กร
    • การพัฒนาระบบบริหาร
      • นโยบายการกำกับองค์กรที่ดี
      • กฎ ระเบียบ แนวทางปฏิบัติ
      • คำรับรองการปฏิบัติราชการ (KPI)
      • การควบคุมภายใน
      • การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)
      • มาตรฐานและคู่มือการปฏิบัติงาน
      • แผนปฏิรูปองค์การ
      • การแบ่งส่วนราชการภายในกรม
      • ITA
        • ITA 2565
        • ITA 2566
    • การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
    • ศูนย์ประสานราชการใสสะอาด
    • ศูนย์ประสานงานด้านความเสมอภาค ระหว่างหญิงชาย
    • ศูนย์บริการร่วม
    • ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร
    • สรุปผลการดำเนินงานจัดซื้อจัดจ้าง
      • งบประมาณ
      • กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานและกองทุนพัฒนาไฟฟ้า
    • ข้อมูลเชิงสถิติการให้บริการ
    • กลุ่มงานจริยธรรม
    • การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
  • ไฟฟ้า
    • แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย (PDP)
    • นโยบายไฟฟ้ารองรับ AEC
      • การรับซื้อไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้าน
      • การซื้อขายไฟฟ้าอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง
      • โครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำไซยะบุรี
      • โครงการความร่วมมือด้านพลังงานไทย-เมียนมาร์
      • แผนพัฒนาระบบไฟฟ้ารองรับ AEC
    • แผนรองรับวิกฤติด้านไฟฟ้า
    • ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชน
      • IPP
      • SPP
      • VSPP
      • สถานะ IPP, SPP ,VSPP
    • นโยบายการรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน
    • ราคาไฟฟ้า
      • นโยบายกำหนดโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า
      • สูตร Ft
      • อัตรา Ft
      • อัตราค่าไฟฟ้าขายส่ง
      • อัตราค่าไฟฟ้าขายปลีก กฟน.
      • อัตราค่าไฟฟ้าขายปลีก กฟภ.
      • ประมาณการค่าไฟฟ้ารายเดือน
        • ค่าไฟฟ้าในพื้นที่ให้บริการ กฟน.
        • ค่าไฟฟ้าในพื้นที่ให้บริการ กฟภ.
    • Smart Grid
      • แผนแม่บท
      • แผนขับเคลื่อน
    • มาตรการด้านไฟฟ้า
      • Demand Response
      • TOU
      • TOD
    • สถานะการผลิตและส่งจ่ายไฟฟ้า
ไฟฟ้า มาตรการด้านไฟฟ้า TOU
วันพฤหัสบดี, 03 มีนาคม 2559 15:00

TOU

Introduction

          อัตราค่าไฟฟ้า ตามช่วงเวลา ของการใช้ หรือ ทีโอยู (Time of Use Rate - TOU) เริ่มนำมาใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2540 โดยขณะนั้นกำหนดช่วง On Peak ตั้งแต่วันจันทร์-วันเสาร์ เวลา 09.00-22.00 น. และช่วง Off Peak ตั้งแต่วันจันทร์-เสาร์ เวลา 22.00-09.00 น. และวันอาทิตย์ทั้งวัน โดยกำหนดให้ อัตราค่าไฟฟ้า ทีโอยู เป็นอัตราเลือก สำหรับผู้ใช้ไฟฟ้ารายเดิม แต่เป็นอัตราบังคับ สำหรับผู้ใช้ไฟฟ้ารายใหม่ ที่ใช้พลังงานไฟฟ้า ตั้งแต่ 355,000 หน่วยต่อเดือนขึ้นไป หรือใช้พลังไฟฟ้า เกินกว่า 2,000 กิโลวัตต์ขึ้นไป ปรากฏว่า ในช่วง 3 ปี (จนถึงวันที่ 30 กันยายน 2543) มีผู้ใช้ไฟฟ้า ใช้อัตราค่าไฟฟ้า ทีโอยู ทั้งสิ้น 562 ราย ส่วนใหญ่เป็นผู้ใช้ไฟฟ้า ที่สมัครใจ เลือกใช้อัตราค่าไฟฟ้า ทีโอยู

ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2543 รัฐบาลได้ประกาศ โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าใหม่ และได้กำหนดอัตราค่าไฟฟ้า ทีโอยู ให้มีช่วง Off Peak มากขึ้น คือ เพิ่มวันเสาร์ และวันหยุดราชการ (ยกเว้นวันหยุดชดเชย) ทั้งวันด้วย และกำหนดให้เป็นอัตราเลือก สำหรับผู้ใช้ไฟฟ้ารายเดิม แต่เป็นอัตราบังคับ สำหรับผู้ใช้ไฟฟ้า กิจการเฉพาะอย่าง (กิจการโรงแรม) และผู้ใช้ไฟฟ้ารายใหม่ ที่ใช้พลังงานไฟฟ้า ตั้งแต่ 250,000 หน่วยต่อเดือนขึ้นไป หรือใช้พลังไฟฟ้าเกินกว่า 1,000 กิโลวัตต์ขึ้นไป ผลปรากฏว่า ในรอบ 1 ปีที่ผ่านมา (สิ้นเดือนกันยายน 2544) มีผู้ใช้ไฟฟ้า ใช้อัตราค่าไฟฟ้า ทีโอยู เพิ่มขึ้นเป็น 2,920 ราย ผู้ใช้ไฟฟ้า ทีโอยู เหล่านี้ ส่วนใหญ่ มีความพึงพอใจ กับอัตราค่าไฟฟ้า ทีโอยู (เนื่องจาก ทำให้ค่าไฟฟ้า ของตนลดลง เมื่อเปรียบเทียบกับอัตราค่าไฟฟ้าเดิม

Rate
          คือ อัตราการจัดเก็บค่าไฟฟ้าที่ขึ้นอยู่กับช่วงเวลาการใช้ โดยแบ่งออกเป็น 2 ช่วง คือ
          - On Peak ตั้งแต่วันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 09.00-22.00 น.
          - Off Peak ตั้งแต่วันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 22.00-09.00 น.
และวันเสาร์-อาทิตย์ วันหยุดราชการ (ไม่รวมวันหยุดชดเชย) ทั้งวัน

          อัตราค่าไฟฟ้าทีโอยูที่กำหนดใช้ในปัจจุบัน สะท้อนถึงต้นทุนไฟฟ้าอย่างแท้จริง กล่าวคือ ในช่วงที่มีความต้องการไฟฟ้าสูง (On Peak) ค่าไฟฟ้าจะสูง เนื่องจากการไฟฟ้า ต้องลงทุนสร้างโรงไฟฟ้า ระบบสายส่ง / สายจำหน่าย ให้เพียงพอ ต่อความต้องการไฟฟ้าในช่วงนี้ และต้องใช้เชื้อเพลิงทุกชนิด (ทั้งถูกและแพง) ในการผลิตไฟฟ้า แต่ในช่วงที่มีความต้องการไฟฟ้าต่ำ (Off Peak) ค่าไฟฟ้าจะต่ำ เนื่องจาก การไฟฟ้าไม่ต้องสร้างโรงไฟฟ้า และระบบสายส่ง / สายจำหน่าย (สร้างไว้แล้วในช่วง On Peak) จึงไม่มีต้นทุนค่าไฟฟ้าในส่วนนี้ มีเพียงต้นทุนค่าเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า ซึ่งการไฟฟ้า สามารถเลือกใช้เชื้อเพลิง ที่ถูกมาผลิตไฟฟ้า จึงทำให้ต้นทุนพลังงานไฟฟ้า ในช่วง Off Peak ต่ำกว่าช่วง On Peak มากกว่าครึ่งหนึ่ง

ทำอย่างไรให้ได้ประโยชน์จาก TOU
          อัตรา TOU สามารถประหยัดค่าไฟฟ้าลงได้ เมื่อมีการบริหารการใช้ไฟฟ้าที่ดีและเหมาะสม เช่น
          1. หลีกเลี่ยงการใช้อุปกรณ์ หรือเครื่องจักร ที่ก่อให้เกิดความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด (Peak Demand) ในช่วง On Peak (09.00-22.00 น.) เพื่อลดค่าพลังไฟฟ้า (Demand Charge)
          2. ในกรณีที่กิจการนั้นมีการทำงาน 2 กะ พิจารณาเลื่อนขบวนการผลิต 1 กะ ให้ไปอยู่ในช่วง Off Peak (22.00-09.00 น.) เพื่อลดค่าความต้องการใช้พลังงานไฟฟ้า ในช่วง On Peak ซึ่งค่าพลังงานไฟฟ้า (Energy Charge) ในช่วง Off Peak จะถูกกว่าช่วง On Peak กว่าร้อยละ 55
          3. ทำงานวันเสาร์วันอาทิตย์และวันหยุดราชการ อย่างเต็มที่ แทนวันทำงานปกติ เนื่องจากวันดังกล่าว ไม่ต้องเสียค่าพลังไฟฟ้า และค่าพลังงานไฟฟ้า จะถูกกว่าวันปกติในช่วง On Peak กว่าร้อยละ 65
          นอกจากนี้ ผู้ประกอบการควรคำนึงถึง การนำเอาเทคโนโลยี ในการประหยัดพลังงาน ที่เหมาะสม มาใช้ควบคู่กัน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ไฟฟ้า

แล้วใครได้ประโยชน์
1. อุตสาหกรรมที่มีการผลิตอย่างต่อเนื่องตลอด 24 ชั่วโมง และมีการใช้พลังงาน อย่างสม่ำเสมอ (Load Factor สูง)
2. โรงแรมและกิจการให้เช่าพักอาศัย ซึ่งเสียค่าไฟฟ้าในอัตราปกติ ที่มีการใช้พลังงานไฟฟ้า ในช่วงกลางคืน สูงกว่ากลางวัน
3. ผู้ใช้ไฟฟ้า ที่สามารถปรับเปลี่ยนเวลาทำงาน ให้มาอยู่ในช่วง Off Peak ได้ โดยไม่ส่งผลกระทบ ต่อกระบวนการผลิต
4. ผู้ใช้ไฟฟ้าแบบ ทีโอยู รายเดิม

ผู้ใช้ไฟฟ้าจะทำการคำนวณ และเปรียบเทียบค่าไฟฟ้าแบบ ทีโอดี และแบบ ทีโอยู ได้อย่างไร?
          อัตราค่าไฟฟ้า ทีโอดี เคยเป็นพระเอกในช่วงปี 2535-2539 ได้ช่วยลดความต้องการใช้ไฟฟ้าสูงสุด ในช่วงเวลา 18.30-21.30 น. ลงได้ประมาณ 700 เมกะวัตต์ มีผลทำให้ความต้องการไฟฟ้า ในช่วงกลางวัน ขยับตัวสูงขึ้นมาในระดับเดียวกับช่วงเวลา 18.30-21.30 น. ทำให้ความต้องการไฟฟ้าสูงสุด ของประเทศ เปลี่ยนมาเป็นช่วงเวลา 9.00-22.00 น. ดังนั้น สถานการณ์ปัจจุบัน อัตราค่าไฟฟ้า ทีโอยู จึงมีความเหมาะสมมากกว่าอัตราค่าไฟฟ้า ทีโอดี อย่างไรก็ตาม ผู้ใช้ไฟฟ้าอัตรา ทีโอดี เดิม ยังคงมีสิทธิ์ใช้อัตรานี้อยู่ และมีสิทธิ์ที่จะเลือกใช้อัตรา ทีโอยู ก็ได้ ขึ้นอยู่กับความต้องการของผู้ใช้ไฟฟ้า
          โดยปกติ อัตราค่าฟ้า ทีโอยู จะเหมาะสมกับผู้ใช้ไฟฟ้ากิจการขนาดใหญ่ ซึ่งมีการใช้ไฟฟ้ามากตลอดวัน เนื่องจากได้ประโยชน์ จากค่าไฟฟ้าในช่วง Off Peak จึงทำให้ผู้ใช้ไฟฟ้า ทีโอดี สมัครใจเลือกใช้อัตรา ทีโอยู เพิ่มขึ้นอย่างมาก ในช่วงปี 2540-2543 (ช่วง 3 ปี) มีผู้ใช้ไฟฟ้า ทีโอดี เปลี่ยนมาใช้ ทีโอยู ประมาณ 500 ราย แต่ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2543 จนถึงเดือนกันยายน 2544 (ภายใน 1 ปี) มีผู้ใช้ไฟฟ้า ทีโอดี เปลี่ยนมาใช้อัตราค่าไฟฟ้า ทีโอยู เพิ่มขึ้นถึง 230 ราย ทำให้ปัจจุบัน เหลือผู้ใช้ไฟฟ้า ทีโอดี ประมาณ 1,690 ราย และนับวัน ผู้ใช้ไฟฟ้า ทีโอดี จะเปลี่ยนมาใช้ ทีโอยู มากขึ้น

อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม

 

Read 104094 times
Tweet
back to top
สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน
121/1-2 ถนนเพชรบุรี แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400  โทร 0 2612 1555, โทรสาร 0 2612 1364 Email: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.
เว็บนี้จะแสดงผลได้ดีที่สุดบน Internet Explorer 11 Chrome และ Firefox ทุกเวอร์ชั่น

การปฎิเสธความรับผิดชอบ | นโยบายเว็บไซต์ | นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล | นโยบายการรักษาความมั่นคงปลอดภัยเว็บไซต์