• Thailand (TH) language switcher
  • English (UK) language switcher

White Style normal-style white-yellow

decrease-font normal-font increase-font

Calendar  Youtube Youtube Facebook    
  • หน้าหลัก
  • เกี่ยวกับองค์กร
    • เกี่ยวกับองค์กร
    • ประวัติความเป็นมา
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม และหน้าที่
    • โครงสร้างองค์กร
    • ติดต่อเรา
    • ทำเนียบผู้บริหาร
    • ผังเว็บไซต์
    • ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง
      • เกี่ยวกับซีไอโอ
      • วิสัยทัศน์และนโยบายต่างๆ
      • การบริหารงานด้าน ICT
      • ข่าวสารจากซีไอโอ
      • ปฏิทินกิจกรรมซีไอโอ
  • นโยบายและแผน
    • คำแถลงนโยบายด้านพลังงานของรัฐบาล
    • นโยบายด้านพลังงานของกระทรวงพลังงาน
    • ยุทธศาสตร์กระทรวงพลังงาน
    • แผนแม่บทพลังงาน
    • แผนบูรณาการพลังงานระยะยาว (TIEB)
      • แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย (PDP)
      • แผนอนุรักษ์พลังงาน (EEP)
      • แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก (AEDP)
      • แผนบริหารจัดการน้ำมันเชื้อเพลิง (Oil Plan)
      • แผนจัดหาก๊าซธรรมชาติ (Gas Plan)
    • ยุทธศาสตร์สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน
    • แผนปฏิบัติราชการรายปี และแผนปฎิบติราชการระยะ 5 ปี
    • การติดตามและประเมินผล
      • รายงานผลการประเมินดัชนีชี้วัดด้านพลังงานของประเทศไทย
      • รายงานความก้าวหน้าตามแผนปฏิบัติราชการ
      • รายงานแผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี
      • การดำเนินงานด้านพลังงานของ สนพ.
      • โครงการภายใต้กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
      • การดำเนินงานตามมติ กพช.
    • ความร่วมมือด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
      • สหประชาชาติ
        • กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติ (UNFCCC)
        • การประชุมสมัชชาประเทศภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติ (COP)
        • พิธีสารเกียวโต (Kyoto Protocol)
          • พิธีสารเกียวโต (Kyoto Protocol)
          • Joint Implementation (JI)
          • Emission Trading (ET)
          • Clean Development Mechanism (CDM)
          • Paris Agreement Adopted
        • Bali Action Plan
          • Bali Action Plan
          • AWG-LCA
          • NAMAS
          • Sectoral Approach : SA
          • MRV
          • AWG-KP
        • Concun Agreement
      • ประเทศไทย
        • ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี พ.ศ.2550
        • คณะกรรมการนโยบายการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
        • องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก
        • แผนแม่บทรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแห่งชาติ
        • แผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2560-2564
        • ยุทธศาสตร์แห่งชาติว่าด้วยการจัดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 2551-2555
      • กระทรวงพลังงาน
        • คณะทำงานประสานงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศฯ
        • แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย (PDP)
        • แผนอนุรักษ์พลังงาน (EEP)
        • แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก (AEDP)
      • อภิธานศัพท์
  • กฏหมายที่เกี่ยวข้อง
    • พระราชบัญญัติ / พระราชกำหนด
    • คำสั่งนายกรัฐมนตรี
    • กฏกระทรวง
    • มติ ครม.ด้านพลังงาน
    • คำพิพากษาคดีที่เกี่ยวข้อง กับ สนพ.
    • ประกาศ/คำสั่งสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน
    • การจัดทำสรุปสาระสำคัญและคำแปลกฎหมาย
    • การประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย
  • คณะกรรมการ/อนุกรรมการ
    • คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.)
      • มติ
      • คำสั่ง
      • ประกาศ
    • คณะกรรมการบริหารนโยบายพลังงาน (กบง.)
      • มติ
      • คำสั่ง
      • ประกาศ
    • คณะกรรมการพิจารณานโยบายพลังงาน (กพง.)
    • คณะกรรมการบริหารมาตรการส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน
    • คณะกรรมการกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (กทอ.)
      • คณะอนุกรรมการกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
      • คณะอนุกรรมการกลั่นกรองงบประมาณกองทุนฯ
      • คณะอนุกรรมการประเมินผลโครงการภายใต้แผนอนุรักษ์พลังงาน
      • มติคณะกรรมการกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
      • มติคณะอนุกรรมการกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
    • คณะกรรมการกองทุนเงินอุดหนุนจากสัญญาโรงกลั่นปิโตรเลียม
    • คณะกรรมการบริหารกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง (กบน.)
  • บริการข้อมูลข่าวสาร
    • สถานการณ์พลังงาน
    • วารสารนโยบายพลังงาน
    • รายงานประจำปี
    • รายงานสถิติพลังงานประจำปี
    • รายงานผลการศีกษานโยบายพลังงาน
    • จดหมายข่าวอนุรักษ์พลังงาน
    • เอกสารเผยแพร่ / หนังสือ / สาระน่ารู้
      • เอกสารเผยแพร่
      • หนังสือ
      • สาระน่ารู้
    • ข่าว สนพ.
    • ข่าวพลังงาน
    • ประชาสัมพันธ์
    • ประกาศจัดซื้อจัดจ้าง
    • ประกาศรับสมัครงาน
    • ห้องสมุด สนพ.
    • INFOGRAPHIC
    • FAQ
    • บริการประชาชน
    • ธรรมบาลข้อมูล
  • การกำกับดูแลองค์กร
    • การพัฒนาระบบบริหาร
      • นโยบายการกำกับองค์กรที่ดี
      • กฎ ระเบียบ แนวทางปฏิบัติ
      • คำรับรองการปฏิบัติราชการ (KPI)
      • การควบคุมภายใน
      • การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)
      • มาตรฐานและคู่มือการปฏิบัติงาน
      • แผนปฏิรูปองค์การ
      • การแบ่งส่วนราชการภายในกรม
      • ITA
        • ITA 2565
        • ITA 2566
    • การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
    • ศูนย์ประสานราชการใสสะอาด
    • ศูนย์ประสานงานด้านความเสมอภาค ระหว่างหญิงชาย
    • ศูนย์บริการร่วม
    • ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร
    • สรุปผลการดำเนินงานจัดซื้อจัดจ้าง
      • งบประมาณ
      • กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานและกองทุนพัฒนาไฟฟ้า
    • ข้อมูลเชิงสถิติการให้บริการ
    • กลุ่มงานจริยธรรม
    • การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
  • ไฟฟ้า
    • แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย (PDP)
    • นโยบายไฟฟ้ารองรับ AEC
      • การรับซื้อไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้าน
      • การซื้อขายไฟฟ้าอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง
      • โครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำไซยะบุรี
      • โครงการความร่วมมือด้านพลังงานไทย-เมียนมาร์
      • แผนพัฒนาระบบไฟฟ้ารองรับ AEC
    • แผนรองรับวิกฤติด้านไฟฟ้า
    • ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชน
      • IPP
      • SPP
      • VSPP
      • สถานะ IPP, SPP ,VSPP
    • นโยบายการรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน
    • ราคาไฟฟ้า
      • นโยบายกำหนดโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า
      • สูตร Ft
      • อัตรา Ft
      • อัตราค่าไฟฟ้าขายส่ง
      • อัตราค่าไฟฟ้าขายปลีก กฟน.
      • อัตราค่าไฟฟ้าขายปลีก กฟภ.
      • ประมาณการค่าไฟฟ้ารายเดือน
        • ค่าไฟฟ้าในพื้นที่ให้บริการ กฟน.
        • ค่าไฟฟ้าในพื้นที่ให้บริการ กฟภ.
    • Smart Grid
      • แผนแม่บท
      • แผนขับเคลื่อน
    • มาตรการด้านไฟฟ้า
      • Demand Response
      • TOU
      • TOD
    • สถานะการผลิตและส่งจ่ายไฟฟ้า
ไฟฟ้า นโยบายไฟฟ้ารองรับ AEC การซื้อขายไฟฟ้าอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง
วันอังคาร, 01 มีนาคม 2559 13:55

การซื้อขายไฟฟ้าอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง

ลักษณะทั่วไปของประเทศในกลุ่มอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง
          ประเทศในกลุ่มอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (The Greater Mekong Sub region : GMS) 6 ประเทศ ได้แก่ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป. ลาว) ,กัมพูชา ,สหภาพพม่า ,เวียดนาม ,ยูนนานของสาธารณรัฐประชาชนจีน และไทย มีความแตกต่างกันในหลายด้าน ความอุดมของทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งรวมการเพาะปลูก ป่าไม้และแหล่งประมง ที่อุดมสมบูรณ์ ศักยภาพของแร่ธาตุ ที่มีมากมาย และแหล่งพลังงานมากมาย ในรูปของพลังน้ำ ถ่านหิน และปริมาณน้ำมันสำรอง อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 2.3 ล้านตารางกิโลเมตร ขนาดประชากรประมาณ 250 ล้านคน


การพัฒนาเศรษฐกิจในช่วงที่ผ่านมา
          การขยายตัวทางเศรษฐกิจของทุกประเทศในช่วงปี 2538-2539 ก่อนเกิดวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ อยู่ในระดับสูงประมาณร้อยละ 6-10 แต่หลังเกิดวิกฤติในปี 2540 เศรษฐกิจของแต่ละประเทศใน GMS เริ่มชะลอตัวลง จากข้อมูลในตารางที่ 2.1 แสดงถึงผลกระทบซึ่งแต่ละประเทศได้รับแตกต่างกัน จะเห็นว่าประเทศไทย ได้รับผลกระทบจากวิกฤติเศรษฐกิจ รุนแรงที่สุด โดยอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ ที่แท้จริงในปี 2540 และ 2541 ติดลบร้อยละ 1.5 และ 10.8 ตามลำดับประเทศในกลุ่ม GMS อยู่ช่วงการเปลี่ยนจากการวางแผนที่ส่วนกลาง สู่เศรษฐกิจที่ขยายฐานทางการตลาด เป็นเศรษฐกิจแบบเปิด ขณะที่ลักษณะเศรษฐกิจ ของแต่ละประเทศในอนุภูมิภาค แตกต่างกันมากในแง่ขนาด และโครงสร้าง แต่ทุกประเทศในลุ่มแม่น้ำโขง มีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจที่สูง ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา จนกระทั่งเกิดวิกฤตทางการเงินและเศรษฐกิจในอาเซียน ในส่วนของผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติต่อหัว อยู่ระหว่าง 260-1,960 เหรียญสหรัฐ การมีไฟฟ้าใช้ (13-97%) และการใช้ไฟฟ้า (34-1,300 กิโลวัตต์-ชั่วโมง/ปี/คน) ยังมีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญ


การใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
          ตลาดซื้อขายไฟฟ้าที่สำคัญใน GMS อยู่ใน 3 ประเทศ ได้แก่ ไทย ยูนนาน และเวียตนาม โดยในปี 2543 มีปริมาณการใช้ไฟฟ้าเท่ากับ 86,214 27,696 และ 22,241 ล้านหน่วย ตามลำดับ หรือคิดเป็นสัดส่วนเท่ากับร้อยละ 61 20 และ 16 ของความต้องการใช้ไฟฟ้าทั้งหมดตามลำดับ (แสดงในตารางที่ 3.1) สัดส่วนนี้คาดว่าจะค่อยๆ ลดลงในอนาคต เนื่องจากประเทศ ที่มีปริมาณการใช้ไฟฟ้าน้อย ได้แก่ สหภาพพม่า สปป.ลาว และกัมพูชา จะมีแนวโน้มความต้องการใช้ไฟฟ้า สูงขึ้นในอนาคต ภาคอุตสาหกรรม ยังคงเป็นภาคหลัก ที่มีสัดส่วนการใช้ไฟฟ้าสูง และเป็นตัวผลักดัน ให้ความต้องการไฟฟ้าเพิ่มสูงขึ้น ในขณะที่ภาคครัวเรือนของทุกประเทศใน GMS มีอัตราการเติบโตของการใช้ไฟฟ้าเพิ่มขึ้นอย่างมาก เนื่องจากความต้องการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้า ที่เริ่มต้นจากฐานที่ต่ำ เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศ ที่พัฒนาแล้ว ซึ่งยังไม่ถึงจุดอิ่มตัว


อัตราค่าไฟฟ้า
          ในปี 2543อัตราค่าไฟฟ้าเฉลี่ยในประเทศไทย สหภาพพม่า และเวียดนาม ประมาณ 4.9-5.2 เซนต์ต่อกิโลวัตต์-ชั่วโมง สำหรับ สปป. ลาว อัตราค่าไฟฟ้าเฉลี่ยในอัตรา 2.3 เซนต์ต่อกิโลวัตต์-ชั่วโมง ซึ่งค่อนข้างต่ำมาก โดยเฉพาะในภาคครัวเรือนอัตราค่าไฟฟ้า เท่ากับ 1.5 เซนต์ต่อกิโลวัตต์-ชั่วโมง โดยรัฐบาลให้เงินอุดหนุนค่าไฟฟ้าแก่ประชาชน ในขณะที่อัตราค่าไฟฟ้าเฉลี่ยของกัมพูชา เท่ากับ 16 เซนต์ต่อกิโลวัตต์-ชั่วโมง เนื่องจากโรงไฟฟ้าส่วนใหญ่ มีขนาดเล็ก และใช้เชื้อเพลิงดีเซล ในการผลิตไฟฟ้า สำหรับยูนนาน ของสาธารณรัฐประชาชนจีน อัตราค่าไฟฟ้าเฉลี่ยเท่ากับ 3.7 เซนต์ต่อกิโลวัตต์-ชั่วโมง


บทสรุป
          ปัจจุบันประเทศในกลุ่มอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง กำลังดำเนินโครงการเชื่อมโยง ระบบส่งไฟฟ้า และการซื้อขายไฟฟ้าใน GMS ซี่งโครงการนี้ หากจัดทำแล้วเสร็จ จะทำให้ระบบกำลังผลิตไฟฟ้า ของอนุภูมิภาค มีความมั่นคง และช่วยสนับสนุนการซื้อขายไฟฟ้าในอนุภาคลุ่มแม่น้ำโขง โดยจากผลการศึกษาของธนาคารโลกในปี 2541 พบว่าจะช่วยลดต้นทุนการผลิตไฟฟ้า ได้ถึง 460 พันล้านบาท ในช่วง 20 ปี (2544-2563) และลดมลภาวะจากปรากฏการณ์ก๊าซเรือนกระจก เนื่องจากเป็นโรงไฟฟ้าพลังน้ำ ได้คิดเป็นมูลค่าถึง 18,000 ล้านบาทต่อปี รวมทั้งเป็นฐานที่ก่อให้เกิดรายได้ อันจะส่งผลดีต่อการขยายตัวทางด้านการค้า การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมระหว่างประเทศในอนุภูมิภาคอีกด้วย

Download
 

 

Read 11747 times
Tweet
back to top
สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน
121/1-2 ถนนเพชรบุรี แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400  โทร 0 2612 1555, โทรสาร 0 2612 1364 Email: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.
เว็บนี้จะแสดงผลได้ดีที่สุดบน Internet Explorer 11 Chrome และ Firefox ทุกเวอร์ชั่น

การปฎิเสธความรับผิดชอบ | นโยบายเว็บไซต์ | นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล | นโยบายการรักษาความมั่นคงปลอดภัยเว็บไซต์